2557 โครงงาน from ployprapim
609_ployprapim_23
วันศุกร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 2557
วันพฤหัสบดีที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2557
ใบงานที่ 3
ข้อสอบ 7 วิชาสามัญ
วิชาคณิตศาสตร์
เฉลยข้อสอบ o-net คณิต
วิชาฟิสิกส์
สรุปฟิสิกส์ เรื่องสนามไฟฟ้า
วิชาเคมี
o-net เคมีครูติ่ง
วิชาชีววิทยา
o-net ชีวะ
วิชาภาษาไทย
o-net ภาษาไทย
วิชาสังคมศึกษา
o-net สังคม
วิชาภาษาอังกฤษ
o-net ภาษาอังกฤษ
แหล่งอ้างอิง :
http://www.slideshare.net/search/slideshow?searchfrom=header&q=7%E0%B8%A7%E0%B8%B4%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A1%E0%B8%B1%E0%B8%8D
http://www.youtube.com/watch?v=Wy35y_-1vIA
http://www.youtube.com/watch?v=RPzU1rOPPPc
http://www.youtube.com/watch?v=Bdx9Rk1WnVM
http://www.youtube.com/watch?v=FxRvFnOCisM
http://www.youtube.com/watch?v=vAMaDUonMGw
http://www.youtube.com/watch?v=vAMaDUonMGw
http://www.youtube.com/watch?v=hOBuAae-IYA
http://www.youtube.com/watch?v=Wy35y_-1vIA
http://www.youtube.com/watch?v=RPzU1rOPPPc
http://www.youtube.com/watch?v=Bdx9Rk1WnVM
http://www.youtube.com/watch?v=FxRvFnOCisM
http://www.youtube.com/watch?v=vAMaDUonMGw
http://www.youtube.com/watch?v=vAMaDUonMGw
http://www.youtube.com/watch?v=hOBuAae-IYA
ใบงานที่ 2
ดนตรีไทย...ขิม
![]()
ประวัติของเครื่องดนตรีขิม
(บทความเรื่องขิม ตอน "จากอาณาจักรเปอร์เซีย -
ผ่านเส้นทางสายไหม - สู่ลุ่มน้ำเจ้าพระยา)
โดย ชนก สาคริก
ขิม
เป็นเครื่องดนตรีที่นิยมบรรเลงเล่นกันทั่วไปในหลายประเทศทั้งในทวีปยุโรปและทวีปเอเซีย
เครื่องดนตรีชนิดนี้น่าจะพัฒนามาจากเครื่องดนตรีประเภท "พิณ"
ซึ่งเป็นเครื่องดนตรีที่ใช้บรรเลงโดยเหนี่ยวสายให้เกิดเป็นเสียงด้วยนิ้วหรือวัสดุแข็งที่ทำจากกระดูกหรือเขาสัตว์ต่อมาจึงใด้คิดประดิษฐ์รูปร่างใหม่ให้เหมาะสมกับการใช้ไม้ตีลงไปบนสายให้เกิดเสียงแทนการใช้นิ้ว
คนส่วนใหญ่จะคิดว่าขิมเป็นเครื่องดนตรีของจีนเพราะทราบแต่เพียงว่าไทยรับเอาแบบอย่างการบรรเลงขิมหรือการประดิษฐ์ขิมมาจากชาวจีนที่เข้ามาค้าขายกับเมืองไทยในสมัยต้นรัตนโกสินทร์
สำหรับชาวยุโรปส่วนใหญ่จะทราบว่าขิมเป็นเครื่องดนตรีที่แพร่เข้ามาจากทางตะวันออกแถบเอเซียกลางซึ่งก็คือบริเวณที่ตั้งของประเทศตุรกี
อิหร่าน อิรัค และประเทศในกลุ่มศาสนาอิสลามอีกหลายประเทศในปัจจุบันนั่นเอง
แต่ในยุคโบราณซึ่งนับถอยหลังไปประมาณ 539 - 330
ปีก่อนศริสตกาลนั้นบริเวณดังกล่าวตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของชนชาติที่เคยยิ่งใหญ่ชาติหนึ่งนั่นคือ
"อาณาจักรเปอร์เซีย"
ชนชาติเปอร์เซียนโบราณเป็นทั้งชาตินักรบและศิลปินสังเกตได้จากอาณาจักรที่แผ่กว้างไกลและสิ่งก่อสร้างที่หลงเหลือมาจนถึงยุคปัจจุบัน
แสดงให้เห็นถึงความละเอียดอ่อนในด้านสถาปัตยกรรมและศิลปกรรมที่โดดเด่นเป็นเอกลักษณ์ของตนเองและชนชาติเปอร์เซียนนี้เองที่เชื่อกันว่าเป็นผู้ริเริ่มคิดประดิษฐ์
ขิม ขึ้นมาก่อนเป็นชาติแรก
เมื่อชาวเปอร์เซียนคิดประดิษฐ์ขิมขึ้นแล้วก็แพร่หลายไปทั้งทวีปยุโรปและเอเซียตามอิทธิพลของอาณาจักรเปอร์เซีย
สำหรับทวีปเอเซียนั้นแพร่เข้ามาทางเส้นทางสายไหมไปสู่ประเทศจีนโดยพ่อค้าชาวเปอร์เซียน
ด้วยเหตุนี้ชาวจีนจึงเรียกขิมว่า "หยางฉิน" (Yang Ch'in) ซึ่งแปลว่า
"เครื่องดนตรีของต่างชาติ"
ส่วนที่แพร่ไปทางดินเดียก็มีเหมือนกันโดยชาวดินเดียเรียกขิมว่า "ซันตูร์" (Santoor)
ในทวีปยุโรปเรียกขิมว่า "ดัลไซเมอร์" (Dulcimer) ที่จริงคำว่า Dulcimer
มิได้หมายถึงขิมเท่านั้นแต่หมายรวมไปถึงเครื่องดนตรีประเภทพิณที่ทำด้วยไม้แล้วขึงสายโลหะทุกประเภท
ส่วนใหญ่เครื่องดนตรีที่ขึงสายนั้นจะบรรเลงด้วยการใช้นิ้วมือหรือวัสดุเล็กที่เรียกว่า
"ปิ๊ก" (Pick)
ดีดหรือเขี่ยสายให้เกิดเสียงและใช้นิ้วมืออีกข้างกดสายเพื่อให้เกิดเป็นทำนองเสียงสูงต่ำแตกต่างกันแต่ขิมเป็นเครื่องดนตรีประเภท
Dulcimer ที่ใช้ไม้ 2 อันตีไปตามสายดังนั้นจึงเรียกขิมอีกชื่อหนึ่งว่า Hammered
Dulcimer ซึ่งหมายถึงพิณที่บรรเลงด้วยการใช้ฆ้อนไม้เล็กๆตีลงไปบนสายนั่นเอง
โดยเหตุที่ชาวจีนเป็นนักคิดประดิษฐ์และมีรูปแบบศิลปะเป็นของตนเองดังนั้นเมื่อรับเอารูปแบบของขิมมาจากเปอร์เซียแล้วจึงนำมาดัดแปลงเป็นแบบฉบับของตนเองและนิยมบรรเลงกันแพร่หลายทั่วไปแต่มิได้ตั้งชื่อใหม่ให้กับเครื่องดนตรีชนิดนี้คงเรียกว่าหยางฉินสืบต่อกันมาจนถึงปัจจุบัน
| |||||||||||||||||||||||
![]() ![]()
|
วันพฤหัสบดีที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2557
My first blog
My name is Ployprapim.
You can call me Ploy.
I like make up and fashion.
https://www.google.co.th/search?q=make+up
Everything has changed- Taylor Swift
'Cause all I know is we said "Hello"
And your eyes look like coming home
All I know is a simple name
Everything has changed
All I know is you held the door
You'll be mine and I'll be yours
All I know since yesterday is everything has changed
http://www.youtube.com/watch?v=w1oM3kQpXRo
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)